Showing posts with label CSS. Show all posts
Showing posts with label CSS. Show all posts
CSS : มารู้จัก Float กัน
CSS :
float จะมี property 4 ตัว คือ

float

  • left ก็คือ สั่งให้ลอยชิดซ้าย
  • right คือ สั่งให้ลอยชิดขวา
  • inherit คือ ค่าที่สืบทอดมา
  • none คือ ไม่ต้องลอย [ซึ่งปรกติ element ทั่วไปจะเป็น none]
ลองมาดูตัวอย่างของคำสั่ง float แล้วกัน ว่ามันใช้งานแล้วได้ผลลัพธ์เป็นแบบไหน
inherit คืออะไร
CSS :
หลาย ๆ คนใช้งาน CSS มาอาจจะเคยใช้ inherit บางคนอาจจะเคยเห็นแต่ไม่เคยใช้ บางคนอาจจะไม่เคยเห็นเลยด้วยซ้ำ
มาทำความรู้จักกับ inherit ดีกว่าว่ามันคืออะไรนะ แต่ก่อนจะรู้จัก inherit เรามาดูก่อนว่าเวลาเราเขียน CSS เนี่ยแต่ละส่วนมันเรียกว่าอะไรกันบ้าง
อยากรู้จริงว่า CSS เราถึงขั้นไหนแล้ว
CSS :
ปรกติทุกวันก็นั่งดูเว็บนั่นเว็บนี่ หาความรู้ใส่ตัว แล้ววันนึงก็ไปสะดุดกับ Banner ตัวนี้
Unmatchedstyle CSS
CSS : z-index ใช้งานอย่างไร
CSS :
คนที่ศึกษา CSS มาซักพัก น่าจะเจอกับคำว่า z-index ครั้งนี้ผมจะมาแนะนำว่า z-index นั้นใช้ทำอะไรกันแน่ แล้วมันใช้งานอย่างไร

z-index

เริ่มต้นผมมี Code HTML กับ CSS แบบนี้นะครับ
CSS : พัฒนาการเขียน HTML และ CSS กัน [Slide]
CSS :
เมื่อวันที่ 3 – 5 ตุลาคมที่ผ่านมา ที่ลอนดอนประเทศอังกฤษมีงานประชุม Future of Web Apps ซึ่งคุณ Chris Coyier นั้นพูดในหัวข้อ Writing Better HTML & CSS เราจึงนำ Slide ที่เค้าใช้ในงานมาแบ่งปันกันครับ
CSS : อะไรคือ CSS Reset
CSS :
หลายคนอาจจะสงสัยว่า CSS Reset มันมีไว้ทำอะไร มีไว้เพื่ออะไร งั้นเรามาทำความรู้จักกับมันกัน CSS Reset นั้นก็มีไว้สำหรับล้างค่า style ต่าง ๆ ของแต่ละ element ซึ่งก็จะมีคำถามตามมาว่า แล้วเราจะล้างค่ามันทำไม สาเหตุมันก็มาจากว่า แต่ละ Browser ที่เราใช้ ๆ กันอยู่นั้น จะมีค่าเริ่มต้นของแต่ละ element ไม่เหมือนกันครับ ถ้ายังงง ๆ อยู่ มาดูตัวอย่างกันนะครับ
CSS : ใช้งาน Position กันอย่างไร
CSS :
ทำงานกับ CSS มาซักพัก น่าจะได้พบเจอกับ Position กันบ้าง แต่เข้าใจการใช้งานมันกันขนาดไหน เอาเป็นว่า เรามาทำความเข้าใจไปด้วยกันเลยนะครับ

CSS : Position นั้นมีอะไรบ้าง

  • static
  • relative
  • absolute
  • fixed
  • inherit
คราวนี้ผมจะลองเขียน Code แบบนี้นะครับ
1<div id="wrapper">
2    <div id="div-1">div-1</div>
3    <div id="div-2">
4        <div id="div-a">div-a</div>
5        <div id="div-b">div-b</div>
6        <div id="div-c">div-c</div>
7    </div>
8    <div id="div-3">div-3</div>
9</div>
1div {padding:20px;color:#FFF;}
2#wrapper {width:400px;}
3#div-1 {background:#000;}
4#div-2 {background:#C0C;}
5#div-3 {background:#666;}
6#div-a {background:#339;}
7#div-b {background:#66C;}
8#div-c {background:#99F;}
ซึ่งจะแสดงผลดังรูป
CSS : ใช้งาน Position กันอย่างไร
จาก Code ที่เขียน เราจะได้เว็บดังรูป

Position : static

position : static นั้นถือเป็นค่าเริ่มต้นสำหรับ position เลย ดังนั้นเราจะตั้งค่า position หรือไม่ ค่า position ก็จะเป็น static อยู่แล้ว แต่ผมจะลองใส่ค่าให้ดูเป็นตัวอย่างว่า เว็บจะแสดงผลออกมาเป็นแบบไหน
1#div-a {background:#339;position:static;}
CSS : ใช้งาน Position กันอย่างไร
ผลลัพธ์จากการตั้ง #div-a ด้วย position:static
จะเห็นว่าไม่มีความเปลี่ยนแปลงใด ๆ เนื่องจากอย่างที่ได้กล่าวไว้ เพราะค่า position นั้น มีค่าเริ่มต้นเป็น static อยู่แล้ว static

Position : relative

position : relative นั้นจะมีลักษณะคล้าย ๆ กับ static ต่างกันตรงที่ relative นั้น เราสามารถใช้ top left bottom right ในการกำหนดตำแหน่งได้
1#div-a {background:#339;position:relative;}
CSS : ใช้งาน Position กันอย่างไร
position : relative ที่ยังไม่ได้กำหนดตำแหน่ง แสดงผลออกมาเหมือนกับ position : static
คราวนี้เรามากำหนดตำแหน่งให้มันกัน โดยตำแหน่งที่ระบุไป จะเริ่มต้นนับจาก element ที่อยู่ก่อนหน้า เรามาลองกับ #div-2 นะครับ น่าจะเห็นผลชัดเจนกว่า
1#div-2 {background:#C0C;position:relative;top:30px;left:-20px}
2#div-a {background:#339;}
CSS : ใช้งาน Position กันอย่างไร